Main News

Update

Story

ปริศนา…บริษัทส่งออกปลาหมอคางดำ ต้องตรวจสอบให้กระจ่าง

การส่งออก “ปลาหมอคางดำ” ถือเป็นประเด็นที่สังคมยังไม่สิ้นสงสัย เพราะที่ผ่านมา 11 บริษัทส่งออก อ้างว่า เจ้าหน้าที่ชิปปิ้ง กรอกข้อมูลชื่อปลาผิด โดยมีเอกสารบางส่วนมาแสดงกับคณะกรรมาธิการฯ สอดคล้องกับกรมประมงที่ อ้างว่า ตรวจสอบแล้วเป็นการกรอกชื่อผิดเช่นกัน แต่ไม่ได้มีการตรวจสอบเพื่อยืนยันว่า ปลาที่ส่งออกเป็นปลาชนิดใดกันแน่…

11 บริษัท ชี้แจง ส่งออกหมอคางดำ คำตอบที่ยังไม่สิ้นสงสัย

การส่งออกปลาหมอคางดำ เป็นปลาสวยงาม ยังคงเป็นประเด็นที่สังคมยังมีข้อสงสัย โดยมีทั้งฝ่ายที่มั่นใจว่าเป็นไปไม่ได้ แล้วปักธงไปที่บริษัทเอกชนที่นำเข้าอย่างถูกต้อง ขณะที่อีกฝ่ายก็เชื่อว่า มีโอกาสเป็นไปได้ เพราะการลักลอบนำเข้าปลาสวยงามเป็นปัญหาที่มีมานาน รวมถึงขั้นตอนการส่งออกที่ยังเต็มไปด้วยคำถาม จึงไม่อาจตัดความเป็นไปได้ที่ว่า ปัญหาปลาหมอคางดำที่กำลังเผชิญอยู่มาจาก “การลักลอบนำเข้า” ได้ การที่ 11…

CPF แจงประเด็นปลาหมอคางดำ มั่นใจไม่ใช่ต้นเหตุแพร่กระจาย เดินหน้าดำเนินคดีผู้ใช้ภาพเท็จ-ข้อมูลเท็จ บิดเบือนข้อเท็จจริง

(9 สิงหาคม 2567) นายประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ ประธานคณะผู้บริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) เคลียร์ประเด็นปลาหมอคางดำทั้งแผนการวิจัยและการปฏิบัติตามเงื่อนไขรัฐ มั่นใจไม่ใช่ต้นเหตุ ย้ำต้องปกป้ององค์กรจากการถูกบิดเบือนข้อเท็จจริง นายประสิทธิ์ บุญดวงประเสริฐ…

Agri-Food Tech Expo Asia 2024 ที่สุดของมหกรรมการแสดงสินค้าเทคโนโลยีอาหารเกษตรแห่งภูมิภาคเอเชีย

เตรียมกลับมาอีกครั้งอย่างยิ่งใหญ่ ส าหรับ Agri-Food Tech Expo Asia 2024 (AFTEA 2024) มหกรรมการแสดงสินค้า บริการและโซลูชันนวัตกรรมอุตสาหกรรมอาหาร การเกษตรและ เทคโนโลยีการเกษตรแห่งภูมิภาคเอเชีย โดยปีนี้จัดภายใต้แนวคิด…

วิเคราะห์เหตุผล “ปลาสวยงามส่งออก” ยังเป็นคำตอบปัญหา “หมอคางดำ”

ประเด็นการส่งออก “ปลาหมอคางดำ” เป็น “ปลาสวยงาม” ยังมีการถกเถียง เพื่อหาข้อเท็จจริงกันอยู่ ทั้งฝ่ายที่สงสัยว่า “มี” และฝ่ายที่มั่นใจว่า “ไม่มี” ใครนำปลาหมอคางดำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ดังเช่น NGO องค์กรอิสระที่ติดตามปัญหาปลาหมอคางดำ โดยพุ่งเป้าต้นตอที่บริษัทเอกชนรายใหญ่เป็นหลัก…

ถอดรหัส “ปลาหมอคางดำ” กระจายไว อาจไปกับคน

ปลาหมอคางดำ ถือเป็น 1 ในประเด็นที่สังคมให้ความสนใจและติดตาม หลังจากภาพปลาหมอคางดำกระจายพันธุ์ไปตามแหล่งน้ำ บ่อเพาะเลี้ยงกุ้งและปลาของเกษตรกร จนไปถึงบึงมักกะสันในกรุงเทพฯ สร้างความกังวลถึงผลกระทบต่อพันธุ์สัตว์น้ำท้องถิ่น เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ชาวประมง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ ตามมาด้วยความพยายามสืบหาแหล่งต้นตอ หาผู้รับผิดขอบ โดยตั้งข้อสังเกตไปที่บริษัทเอกชนที่มีรายงานการขออนุญาตนำเข้าอย่างถูกต้อง เพียงรายเดียว…

ฟาร์มเอ็กซ์โป 2024 เวทีนวัตกรรมและเทคโนโลยีเกษตรยุคใหม่ ขานรับนโยบาย รมว. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยใช้“ตลาดนำ”

บริษัท ฟาร์มเอ็กซ์โป จำกัด ผนึกกำลังพันธมิตรทั้งภาครัฐ-เอกชนระดับประเทศ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในภาคการเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถแก่เกษตรกรและ บุคลากรภาคการเกษตรของประเทศไทย ตลอดจนสร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีแก่เกษตรกร ส่งเสริมการตลาดอุตสาหกรรมการเกษตร เตรียมจัดงาน ฟาร์มเอ็กซ์โป 2024 (FARM EXPO…

“เบทาโกร” สร้างแรงบันดาลใจเด็กไทย สู่เส้นทางนักเตะอาชีพ จับมือ “ลำพูน วอริเออร์” จัดกิจกรรมฟุตบอลคลินิก “Road to Better Growth” ที่ลำพูน

“บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน)” หรือ “BTG” บริษัทอาหารครบวงจรชั้นนำของไทยที่มุ่งมั่นเพิ่มคุณค่าชีวิตทุกคน ด้วยอาหารที่ดีกว่า เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาวงการกีฬาไทย และส่งเสริมนักกีฬาไทยภายใต้แนวคิด “คนคุณภาพ” จึงเดินหน้าสนับสนุน “สโมสรฟุตบอลลำพูน วอริเออร์”…

ซีพีเอฟ แจง กมธ. ยืนยันไม่ใช่สาเหตุ ย้ำพร้อมร่วมมือรัฐจัดการปัญหาปลาหมอคางดำเหตุไม่อนุญาตบันทึกภาพและเสียง เกรงมีผลทางกฎหมาย

1 ส.ค. 2567– ซีพีเอฟ ชี้แจงคณะกรรมธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม (กมธ.) ยืนยันไม่ใช่สาเหตุของปัญหา พร้อมร่วมมือภาครัฐขับเคลื่อนมาตรการแก้ปัญหาปลาหมอคางดำ ฟื้นฟูระบบนิเวศ เดินหน้าไม่หยุด 5 โครงการสอดคล้องกับการทำงานของรัฐ รายงานข่าวจากซีพีเอฟ ระบุว่าบริษัทได้ชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ…

ลักลอบนำเข้าปลา ส่งออกไม่มีที่มา ปัญหาซุกใต้พรม

จากปัญหาปลาหมอคางดำในหลายจังหวัด ที่ทำให้สังคมตระหนักถึงปัญหาปลาต่างถิ่นรุกราน แล้วยังส่งผลให้ทราบถึงอีกหลายปัญหาที่ซ่อนอยู่ในวิกฤตนี้ โดยเฉพาะการนำเข้า เพาะเลี้ยง และส่งออกสัตว์น้ำ โดยไม่ได้รับอนุญาต สะท้อนให้เห็นถึงการขาดระบบการควบคุมและตรวจสอบติดตามที่เข้มงวดของเจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทั่งเกิดผลเสียต่อระบบนิเวศ และเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างรุนแรง ก่อนมี กฎกระทรวงห้ามนำเข้า เพาะเลี้ยง ปลาและสัตว์น้ำบางชนิด…

ส่งออกสัตว์น้ำต้องระบุแหล่งที่มา ประเด็นที่ถูกมองข้าม

ประเด็นปลาต่างถิ่นห้ามเพาะเลี้ยง แต่กลับส่งออกได้ ยังคงสร้างความสงสัยให้กับสังคมว่า ภาครัฐหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบมีมาตรการควบคุมดูแลกำกับอย่างเข้มงวดหรือไม่ โดยเฉพาะการลักลอบนำเข้ามาเพาะเลี้ยง จนสามารถส่งออกได้ มีการบันทึกข้อมูล แต่ไม่เอะใจ ไม่ตรวจสอบ ซึ่งหากไม่มีกรณีการแพร่ระบาดของ “ปลาหมอคางดำ“ ข้อมูลเหล่านี้ก็คงไม่ได้รับความสนใจ ทั้งๆ ที่เป็นสัตว์ต่างถิ่นที่พร้อมสร้างปัญหากับระบบนิเวศ เมื่อพิจารณา…

ทำความเข้าใจ … ปลาหมอคางดำ เป็นญาติ ปลานิล

โดย ผศ.ดร.สพ.ญ.วรรณา ศิริมานะพงษ์ อาจารย์ประจำหน่วยสัตว์น้ำ ภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกและการสาธารณสุขคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระแสที่สังคมให้ความสนใจและยังมีข้อสังสัยอยู่ หนีไม่พ้น “ปลาหมอคางดำ” โดยเฉพาะเรื่องการส่งออกเป็นปลาสวยงาม ระหว่างปี 2556-2559 ตามข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบ ภายใต้ชื่อ “ปลาหมอสีคางดำ”…

ซีพีเอฟ โต้พบภาพเท็จ-ข้อความเท็จ บิดเบือนข้อเท็จจริง กรณีปลาหมอคางดำเตือนอย่าเชื่อ-อย่าแชร์

ซีพีเอฟพบการใช้ข้อมูลประกอบการสื่อสารในเวทีสาธารณะและสื่อโซเชียลต่างๆ เป็นข้อมูลที่บิดเบือนข้อเท็จจริง ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดแก่สังคม และกระทบต่อชื่อเสียงขององค์กรให้ได้รับความเสียหาย เตรียมพิจารณาการดำเนินการขั้นต่อไป พร้อมเตือนประชาชนอย่าเชื่อ อย่าแชร์ นางกอบบุญ ศรีชัย ผู้บริหารสูงสุด สายงานกิจการองค์กร ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ในช่วงที่ผ่านมาและในวันที่ 26…

ปลาห้ามเพาะเลี้ยงส่งออก … ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ

จากข้อสงสัยถึงข้อมูลการส่งออก “ปลาหมอคางดำ” ที่ทั้ง 11 บริษัทผู้ส่งออก ต่างให้ข้อมูลว่า เป็นการส่งออกปลาหมอสีมาลาวี และ ปลาหมอโทรเฟียส และกรมประมงก็ออกมายืนยันแล้วว่า จากการตรวจสอบเอกสาร เป็นการกรอกข้อมูลผิดของ เจ้าหน้าที่ชิปปิ้ง ที่ใส่ชื่อวิทยาศาสตร์ Sarotherodon…

เตือน! อย่าแชร์ข้อมูลที่ยังไม่รู้ว่าจริงหรือเท็จ

สถานการณ์การระบาดของปลาหมอคางดำ  มาตรการต่างๆที่หลายฝ่ายกำลังร่วมมือเร่งแก้ปัญหา ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน หรือแม้แต่ประชาชนทั่วไปที่เชิญชวนกันสรรหาเมนูอร่อยเพื่อร่วมด้วยช่วยกันบริโภคลดปริมาณ ทำให้กระแสของปลาชนิดนี้ยังคงอยู่ในความสนใจของผู้คน ท่ามกลางความสนใจข่าวสารนี้ มีประเด็นการตามล่าหาคนผิด ซึ่งนักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านสื่ออิเลคทรอนิคส์ ฝากเตือนประชาชนอย่าแชร์ข้อมูลที่ยังยืนยันไม่ได้ว่าเท็จหรือจริง อาจติดร่างแหเป็นคดีความโดยไม่รู้ตัวได้ เนื่องจากแกนนำหลักในการตามล่านี้คือ มูลนิธิชีววิถี หรือไบโอไทย (Biothai)…

“ปลาหมอคางดำ” ความจริงที่ต้องรู้ เร่งล่า-แก้ปัญหา ดีกว่าหาคนผิด

การแพร่ระบาดของปลาหมอคางดำเป็นวงกว้าง ทำให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องตื่นตัวและกำลังเร่งควบคุมจำกัด ในขณะที่ต้นตอการแพร่ระบาดยังคงเป็นคำถามที่ยังรอคำตอบ เนื่องจากมีความสับสนในหลายประเด็น  เริ่มตั้งแต่ ชื่อ ที่เรียกว่า ปลาหมอคางดำ ทั้งที่จริงแล้ว เป็นปลาสายพันธุ์เดียวกับปลานิล ซึ่ง อ.เจษฎ์ – ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา…

“ปลาหมอคางดำ” ส่งออก ปริศนาที่ต้องไขจาก 11 บริษัท ให้กระจ่างมากกว่าอ้างว่า กรอกชื่อผิด

หลังจาก คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาสาเหตุและแนวทาง แก้ไขปัญหา รวมถึงผลกระทบจากการนำเข้าปลาหมอคางดำเพื่อการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ ได้รับข้อมูลใหม่ว่า การส่งออกปลาหมอคางดำ บริษัทผู้ส่งออกทั้ง 11 บริษัท ประกอบด้วย หจก.ฉาง ซิน เอ็นเตอร์ไพร์, หจก. ซีฟู้ดส์…

โยนผิดชิปปิ้ง กรอกข้อมูล ‘ปลาหมอคางดำส่งออก’ ไร้ตรวจสอบ

ประเด็นคำถาม ที่สังคมยังสงสัยว่า ไทย มีการส่งออก “ปลาหมอคางดำ” ในช่วงปี 2556-2559 กว่า 3 แสนตัว ได้อย่างไร ทั้งๆ ที่ เป็นปลาต่างถิ่น ที่ห้ามนำเข้ามาเพาะเลี้ยง…

ซีพีเอฟ รวมพลัง 3 มหาวิทยาลัยชั้นนำ เดินหน้า 5 โครงการเร่งกำจัดปลาหมอคางดำ

ซีพีเอฟ รวมพลัง 3 มหาวิทยาลัยชั้นนำ เดินหน้า 5 โครงการเร่งกำจัดปลาหมอคางดำ ปัญหาการแพร่ระบาดของ “ปลาหมอคางดำ”ที่แพร่ระบาดไปกว่า 16 จังหวัด ที่สร้างความเสียหายต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และระบบนิเวศน์อย่างรุนแรงเนื่องจากอาศัยได้ทั้ง น้ำจืด น้ำกร่อย…

อึ้ง!! พบ 11 บริษัทส่งออกปลาสวยงาม ทำเงินเข้ากระเป๋าจาก “ปลาหมอคางดำ”

แหล่งข่าวจากวงการปลาสวยงามระบุ Blackchin Tilapia เป็นหนึ่งใน 17 กลุ่มปลาแปลก หรือ Exotic Freshwater Fish ที่นิยมเลี้ยงกันในต่างประเทศ รวมถึงติดอันดับกลุ่มปลาที่สามารถใช้เป็นอาหารได้ที่ถูกนำมาเลี้ยงเป็นงานอดิเรก จึงไม่น่าแปลกใจที่พบว่ามี บริษัทไทยสนองตอบต่อความต้องการในตลาดนี้ และสามารถสร้างรายได้จากการส่งออกปลาชนิดนี้จริง…

ปลาหมอสีคางดำ “ปลาสวยงาม” หรือ “ปลารุกราน” บูรณาการกำจัดได้

ปลาหมอสีคางดำ หรือ ปลาหมอคางดำ (Blackchin tilapia) ที่มีชื่อทางวิทยาศาตร์ ว่า Sarotherodon melanotheron การกำหนดชื่อวิทยาศาสตร์ขึ้นใช้ ก็เพื่อมิให้เกิดความซ้ำซ้อนหรือความสับสนกับชื่อพื้นเมืองและชื่อสามัญ เป็นหนึ่งในปลาต่างถิ่นรุกราน เรียกขานกันว่าเอเลี่ยน สปีชี่ส์ ที่ไทยห้ามนำเข้าตั้งแต่ปี…

Related News