Month: January 2025

คลี่คลาย! ประมงราชบุรีมั่นใจ คุมสถานการณ์ปลาหมอคางดำได้ – เดินหน้าจัดการอย่างเป็นระบบ

ประมงจังหวัดราชบุรี เผยสถานการณ์ปลาหมอคางดำในจังหวัดราชบุรีอยู่ในระดับที่สามารถควบคุมได้ และในลำคลองยังพบปลาพื้นถิ่นอาศัยอยู่หลายชนิด ซึ่งเป็นสัญญาณที่ดีต่อระบบนิเวศ ปีนี้ราชบุรียังคงดำเนินการต่อเนื่องเพื่อฟื้นฟูความสมดุลของระบบนิเวศและดูแลเกษตรกรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างเป็นระบบ วันที่ 17 มกราคม 2568 นายจิระพงศ์ ศิริวัฒน์ นักวิชาการประมงชำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทนประมงจังหวัดราชบุรี มอบหมายให้นางสาวจินตนา นิธรรม…

วิฟ เอเชีย 2025 ร่วมกับ มีท โปร เอเชีย และ ฮอร์ติ อะกริ เน็กซ์ เอเชีย! เปิดเวทีงานแสดงสินค้านานาชาติ 6 ฮอลล์  1,500 ผู้ประกอบการ ครบทุกมิติ ปศุสัตว์-อาหาร-การเกษตร ยิ่งใหญ่ที่สุดในเอเชีย มีนาคมนี้!

วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค ร่วมกับ วีเอ็นยู ยุโรป ประกาศความพร้อมในการจัดงาน VIV Asia (วิฟ เอเชีย) สุดยอดงานแสดงสินค้าและเทคโนโลยีสำหรับอุตสาหกรรมปศุสัตว์ครบวงจร ตั้งแต่อาหารสัตว์ สู่ อาหารเพื่อการบริโภค…

กรมปศุสัตว์เตือนภัยเกษตรกรผู้เลี้ยงโค​ กระบือ​ เฝ้าระวังการเกิดโรคปากและเท้าเปื่อยในช่วงฤดูหนาว

นายสัตวแพทย์บุญญกฤช ปิ่นประสงค์ รองอธิบดีกรมปศุสัตว์​ เตือนภัย การระบาดของโรค​ปาก​และเท้าเปื่อย​ในโค กระบือในช่วงฤดูหนาว เนื่องจากสภาพอากาศดังกล่าวส่งผลให้โคและกระบือ​เกิดความเครียด​ มีสุขภาพอ่อนแอ และภูมิคุ้มกันต่อโรคลดลง ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค​ปากและเท้าเปื่อยได้ง่าย ดังนั้น​เพื่อป้องกัน     ความเสียหายต่อเกษตรกรผู้เลี้ยงโค กระบือ จึงขอความร่วมมือสหกรณ์โคนม ศูนย์รับนม…

นักวิชาการ ยัน “ปลาหมอคางดำ” ทานได้ มีประโยชน์ อีกทางกำจัดที่ได้ผล

​ปลาหมอคางดำ สัตว์น้ำต่างถิ่นรุกรานที่กลายเป็นวาระแห่งชาติ จนทุกภาคส่วนต้องผนึกกำลังกำจัดอย่างจริงจัง จนปริมาณลดลงในทุกจังหวัด ซึ่ง 1 ในแนวทางที่ช่วยกำจัดปลาหมอคางดำอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การจับมาใช้ประโยชน์ ทั้ง การแปรรูปเป็นปลาป่น ทำเป็นน้ำหมักชีวภาพ หรือแม้กระทั่งการนำมาบริโภค ด้วยการนำมาประกอบอาหารเป็นเมนูต่างๆ ซึ่ง นักวิชาการ ยืนยันว่า ปลาหมอคางดำ…

ประมงยัน กำจัด ปลาหมอคางดำ เห็นผล ลดวิกฤต 

​ปี 2567 ที่ผ่านมา กรมประมงและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ต้องเผขิญหน้ากับการควบคุมจำกัด ปลาหมอคางดำ สัตว์น้ำต่างถิ่นที่รุกรานระบบนิเวศน์ไทยอย่างรุนแรง ด้วยหลากหลายมาตรการทั้ง การเดินหน้าจับปลาหมอคางดำออกจากแหล่งน้ำ การปล่อยปลานักล่า โดยเฉพาะปลากะพงและปลาอีกงกำจัดลูกปลา รวมถึงการนำปลาที่จับได้มาใช้ประโยชน์ ด้วยการผลิตปลาป่น ทำปุ๋ย หรือแปรรูปเป็นอาหารต่างๆ จนปริมาณปลาหมอคางดำในแหล่งน้ำธรรมชาติลดลง คืนสมดุลระบบนิเวศน์ …

อนาคตของหมูไทย 2568 คนไทยต้องกินหมูแพง แต่รายเล็กอาจไปไม่รอด

โดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี 2568 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรประมาณการอุปสงค์เนื้อสุกรไว้ที่ 1.585 ล้านตัน ประมาณการอุปทานไว้ที่ 1.60 ล้านตัน หรือประมาณ 21.37…

สมาคมผู้เลี้ยงสุกรฯ ชูทางออกเจรจานำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ดันดุลการค้าสหรัฐฯ ทดแทนแนวคิดนำเข้าหมู

ท่ามกลางแรงกดดันด้านนโยบายการค้าของสหรัฐฯ ภายใต้แนวคิด “America First” ของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์  สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติเสนอแนวทางที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน โดยมุ่งเน้นการนำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ แทนการเปิดตลาดนำเข้าเนื้อหมูจากสหรัฐฯ ซึ่งจะส่งผลเสียร้ายแรงต่อเกษตรกรและความปลอดภัยทางอาหารในประเทศไทยนายสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า แม้สหรัฐฯ มีแนวโน้มที่จะกดดันให้ไทยนำเข้าสินค้าเกษตร เช่นเนื้อหมู เพื่อลดการขาดดุลกับไทย แต่การยอมรับข้อเสนอนี้จะสร้างผลกระทบมหาศาล…

ผู้เลี้ยงไก่ไข่โอดต้นทุนผลิตสูงรอบด้าน หวั่นเกษตรกรอยู่ยาก

สมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ ชี้เกษตรกรต้องเผชิญต้นทุนผลิตสูงขึ้นรับปี 2568 ทั้งค่าแรงงานอัตราใหม่ วัตถุดิบอาหารสัตว์ปัจจัยปัองกันโรค ตลอดจนไข้หวัดนกระบาดในภูมิภาคเอเซียและประเทศเพื่อนบ้านเกิดความเสียหาย ส่งผลให้ไทยต้องป้องกันเข้มแข็งไม่ให้สัตว์ติดโรค สร้างหลักประกันอาหารปลอดภัยให้คนไทย นายมงคล พิพัฒสัตยานุวงศ์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ กล่าวว่า ในปี 2568 มีปัจจัยหลายด้านที่จะส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตรและผู้เลี้ยงไข่ไก่ต้องรับภาระเพิ่มขึ้นซึ่งจะส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะการปรับค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำเป็น 400 บาทต่อวัน อีกทั้งราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีแนวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่องปัจจุบันเฉลี่ยที่ 11.20 บาทต่อกิโลกรัม จาก 10.30 บาทในเดือนพฤศจิกายน 2568 ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตในปีหน้าโดยไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ นอกจากนี้ โรคระบาดไข้หวัดนกในภูมิภาคเอเชียและประเทศเพื่อนบ้าน…

วิบากกรรมไข่ไก่ ลากยาวต่อเนื่อง ปี 2568 เสี่ยงครบต้นทุนแรงงาน-วัตถุดิบอาหารสัตว์พุ่ง

ในปี 2567 สถานการณ์ราคาไข่ไก่ในประเทศไทยมีความผันผวนอย่างชัดเจน โดยได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางเศรษฐกิจโลกที่ซบเซา ส่งผลให้ความต้องการบริโภคในประเทศลดลง นอกจากนี้ ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์และต้นทุนการผลิตอื่นๆ ยังมีบทบาทสำคัญต่อราคาตลาดไข่ไก่ ซึ่งสะท้อนถึงความไม่แน่นอนในห่วงโซ่อุปทาน ซึ่งข้อมูลในปี 2567 จะช่วยสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางตลาดและแนวโน้มของการผลิตและการบริโภคในปี 2568 ได้ชัดเจนมากขึ้น สถานการณ์ราคาของไข่ไก่ในปี…

Related News