Main News

Update

Story

วิเคราะห์เหตุผล “ปลาสวยงามส่งออก” ยังเป็นคำตอบปัญหา “หมอคางดำ”

ประเด็นการส่งออก “ปลาหมอคางดำ” เป็น “ปลาสวยงาม” ยังมีการถกเถียง เพื่อหาข้อเท็จจริงกันอยู่ ทั้งฝ่ายที่สงสัยว่า “มี” และฝ่ายที่มั่นใจว่า “ไม่มี” ใครนำปลาหมอคางดำมาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ดังเช่น NGO องค์กรอิสระที่ติดตามปัญหาปลาหมอคางดำ โดยพุ่งเป้าต้นตอที่บริษัทเอกชนรายใหญ่เป็นหลัก…

ถอดรหัส “ปลาหมอคางดำ” กระจายไว อาจไปกับคน

ปลาหมอคางดำ ถือเป็น 1 ในประเด็นที่สังคมให้ความสนใจและติดตาม หลังจากภาพปลาหมอคางดำกระจายพันธุ์ไปตามแหล่งน้ำ บ่อเพาะเลี้ยงกุ้งและปลาของเกษตรกร จนไปถึงบึงมักกะสันในกรุงเทพฯ สร้างความกังวลถึงผลกระทบต่อพันธุ์สัตว์น้ำท้องถิ่น เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ชาวประมง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์ ตามมาด้วยความพยายามสืบหาแหล่งต้นตอ หาผู้รับผิดขอบ โดยตั้งข้อสังเกตไปที่บริษัทเอกชนที่มีรายงานการขออนุญาตนำเข้าอย่างถูกต้อง เพียงรายเดียว…

ฟาร์มเอ็กซ์โป 2024 เวทีนวัตกรรมและเทคโนโลยีเกษตรยุคใหม่ ขานรับนโยบาย รมว. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยใช้“ตลาดนำ”

บริษัท ฟาร์มเอ็กซ์โป จำกัด ผนึกกำลังพันธมิตรทั้งภาครัฐ-เอกชนระดับประเทศ ร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในภาคการเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถแก่เกษตรกรและ บุคลากรภาคการเกษตรของประเทศไทย ตลอดจนสร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีแก่เกษตรกร ส่งเสริมการตลาดอุตสาหกรรมการเกษตร เตรียมจัดงาน ฟาร์มเอ็กซ์โป 2024 (FARM EXPO…

“เบทาโกร” สร้างแรงบันดาลใจเด็กไทย สู่เส้นทางนักเตะอาชีพ จับมือ “ลำพูน วอริเออร์” จัดกิจกรรมฟุตบอลคลินิก “Road to Better Growth” ที่ลำพูน

“บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน)” หรือ “BTG” บริษัทอาหารครบวงจรชั้นนำของไทยที่มุ่งมั่นเพิ่มคุณค่าชีวิตทุกคน ด้วยอาหารที่ดีกว่า เพื่อชีวิตที่ยั่งยืน เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาวงการกีฬาไทย และส่งเสริมนักกีฬาไทยภายใต้แนวคิด “คนคุณภาพ” จึงเดินหน้าสนับสนุน “สโมสรฟุตบอลลำพูน วอริเออร์”…

ซีพีเอฟ แจง กมธ. ยืนยันไม่ใช่สาเหตุ ย้ำพร้อมร่วมมือรัฐจัดการปัญหาปลาหมอคางดำเหตุไม่อนุญาตบันทึกภาพและเสียง เกรงมีผลทางกฎหมาย

1 ส.ค. 2567– ซีพีเอฟ ชี้แจงคณะกรรมธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม (กมธ.) ยืนยันไม่ใช่สาเหตุของปัญหา พร้อมร่วมมือภาครัฐขับเคลื่อนมาตรการแก้ปัญหาปลาหมอคางดำ ฟื้นฟูระบบนิเวศ เดินหน้าไม่หยุด 5 โครงการสอดคล้องกับการทำงานของรัฐ รายงานข่าวจากซีพีเอฟ ระบุว่าบริษัทได้ชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการฯ…

ลักลอบนำเข้าปลา ส่งออกไม่มีที่มา ปัญหาซุกใต้พรม

จากปัญหาปลาหมอคางดำในหลายจังหวัด ที่ทำให้สังคมตระหนักถึงปัญหาปลาต่างถิ่นรุกราน แล้วยังส่งผลให้ทราบถึงอีกหลายปัญหาที่ซ่อนอยู่ในวิกฤตนี้ โดยเฉพาะการนำเข้า เพาะเลี้ยง และส่งออกสัตว์น้ำ โดยไม่ได้รับอนุญาต สะท้อนให้เห็นถึงการขาดระบบการควบคุมและตรวจสอบติดตามที่เข้มงวดของเจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่รับผิดชอบ กระทั่งเกิดผลเสียต่อระบบนิเวศ และเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างรุนแรง ก่อนมี กฎกระทรวงห้ามนำเข้า เพาะเลี้ยง ปลาและสัตว์น้ำบางชนิด…

ส่งออกสัตว์น้ำต้องระบุแหล่งที่มา ประเด็นที่ถูกมองข้าม

ประเด็นปลาต่างถิ่นห้ามเพาะเลี้ยง แต่กลับส่งออกได้ ยังคงสร้างความสงสัยให้กับสังคมว่า ภาครัฐหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบมีมาตรการควบคุมดูแลกำกับอย่างเข้มงวดหรือไม่ โดยเฉพาะการลักลอบนำเข้ามาเพาะเลี้ยง จนสามารถส่งออกได้ มีการบันทึกข้อมูล แต่ไม่เอะใจ ไม่ตรวจสอบ ซึ่งหากไม่มีกรณีการแพร่ระบาดของ “ปลาหมอคางดำ“ ข้อมูลเหล่านี้ก็คงไม่ได้รับความสนใจ ทั้งๆ ที่เป็นสัตว์ต่างถิ่นที่พร้อมสร้างปัญหากับระบบนิเวศ เมื่อพิจารณา…

ทำความเข้าใจ … ปลาหมอคางดำ เป็นญาติ ปลานิล

โดย ผศ.ดร.สพ.ญ.วรรณา ศิริมานะพงษ์ อาจารย์ประจำหน่วยสัตว์น้ำ ภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกและการสาธารณสุขคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กระแสที่สังคมให้ความสนใจและยังมีข้อสังสัยอยู่ หนีไม่พ้น “ปลาหมอคางดำ” โดยเฉพาะเรื่องการส่งออกเป็นปลาสวยงาม ระหว่างปี 2556-2559 ตามข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบ ภายใต้ชื่อ “ปลาหมอสีคางดำ”…

ซีพีเอฟ โต้พบภาพเท็จ-ข้อความเท็จ บิดเบือนข้อเท็จจริง กรณีปลาหมอคางดำเตือนอย่าเชื่อ-อย่าแชร์

ซีพีเอฟพบการใช้ข้อมูลประกอบการสื่อสารในเวทีสาธารณะและสื่อโซเชียลต่างๆ เป็นข้อมูลที่บิดเบือนข้อเท็จจริง ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดแก่สังคม และกระทบต่อชื่อเสียงขององค์กรให้ได้รับความเสียหาย เตรียมพิจารณาการดำเนินการขั้นต่อไป พร้อมเตือนประชาชนอย่าเชื่อ อย่าแชร์ นางกอบบุญ ศรีชัย ผู้บริหารสูงสุด สายงานกิจการองค์กร ซีพีเอฟ เปิดเผยว่า ในช่วงที่ผ่านมาและในวันที่ 26…

ปลาห้ามเพาะเลี้ยงส่งออก … ระเบิดเวลาที่รอวันปะทุ

จากข้อสงสัยถึงข้อมูลการส่งออก “ปลาหมอคางดำ” ที่ทั้ง 11 บริษัทผู้ส่งออก ต่างให้ข้อมูลว่า เป็นการส่งออกปลาหมอสีมาลาวี และ ปลาหมอโทรเฟียส และกรมประมงก็ออกมายืนยันแล้วว่า จากการตรวจสอบเอกสาร เป็นการกรอกข้อมูลผิดของ เจ้าหน้าที่ชิปปิ้ง ที่ใส่ชื่อวิทยาศาสตร์ Sarotherodon…

เตือน! อย่าแชร์ข้อมูลที่ยังไม่รู้ว่าจริงหรือเท็จ

สถานการณ์การระบาดของปลาหมอคางดำ  มาตรการต่างๆที่หลายฝ่ายกำลังร่วมมือเร่งแก้ปัญหา ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน หรือแม้แต่ประชาชนทั่วไปที่เชิญชวนกันสรรหาเมนูอร่อยเพื่อร่วมด้วยช่วยกันบริโภคลดปริมาณ ทำให้กระแสของปลาชนิดนี้ยังคงอยู่ในความสนใจของผู้คน ท่ามกลางความสนใจข่าวสารนี้ มีประเด็นการตามล่าหาคนผิด ซึ่งนักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านสื่ออิเลคทรอนิคส์ ฝากเตือนประชาชนอย่าแชร์ข้อมูลที่ยังยืนยันไม่ได้ว่าเท็จหรือจริง อาจติดร่างแหเป็นคดีความโดยไม่รู้ตัวได้ เนื่องจากแกนนำหลักในการตามล่านี้คือ มูลนิธิชีววิถี หรือไบโอไทย (Biothai)…

“ปลาหมอคางดำ” ความจริงที่ต้องรู้ เร่งล่า-แก้ปัญหา ดีกว่าหาคนผิด

การแพร่ระบาดของปลาหมอคางดำเป็นวงกว้าง ทำให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องตื่นตัวและกำลังเร่งควบคุมจำกัด ในขณะที่ต้นตอการแพร่ระบาดยังคงเป็นคำถามที่ยังรอคำตอบ เนื่องจากมีความสับสนในหลายประเด็น  เริ่มตั้งแต่ ชื่อ ที่เรียกว่า ปลาหมอคางดำ ทั้งที่จริงแล้ว เป็นปลาสายพันธุ์เดียวกับปลานิล ซึ่ง อ.เจษฎ์ – ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา…

“ปลาหมอคางดำ” ส่งออก ปริศนาที่ต้องไขจาก 11 บริษัท ให้กระจ่างมากกว่าอ้างว่า กรอกชื่อผิด

หลังจาก คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาสาเหตุและแนวทาง แก้ไขปัญหา รวมถึงผลกระทบจากการนำเข้าปลาหมอคางดำเพื่อการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ ได้รับข้อมูลใหม่ว่า การส่งออกปลาหมอคางดำ บริษัทผู้ส่งออกทั้ง 11 บริษัท ประกอบด้วย หจก.ฉาง ซิน เอ็นเตอร์ไพร์, หจก. ซีฟู้ดส์…

โยนผิดชิปปิ้ง กรอกข้อมูล ‘ปลาหมอคางดำส่งออก’ ไร้ตรวจสอบ

ประเด็นคำถาม ที่สังคมยังสงสัยว่า ไทย มีการส่งออก “ปลาหมอคางดำ” ในช่วงปี 2556-2559 กว่า 3 แสนตัว ได้อย่างไร ทั้งๆ ที่ เป็นปลาต่างถิ่น ที่ห้ามนำเข้ามาเพาะเลี้ยง…

ซีพีเอฟ รวมพลัง 3 มหาวิทยาลัยชั้นนำ เดินหน้า 5 โครงการเร่งกำจัดปลาหมอคางดำ

ซีพีเอฟ รวมพลัง 3 มหาวิทยาลัยชั้นนำ เดินหน้า 5 โครงการเร่งกำจัดปลาหมอคางดำ ปัญหาการแพร่ระบาดของ “ปลาหมอคางดำ”ที่แพร่ระบาดไปกว่า 16 จังหวัด ที่สร้างความเสียหายต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และระบบนิเวศน์อย่างรุนแรงเนื่องจากอาศัยได้ทั้ง น้ำจืด น้ำกร่อย…

อึ้ง!! พบ 11 บริษัทส่งออกปลาสวยงาม ทำเงินเข้ากระเป๋าจาก “ปลาหมอคางดำ”

แหล่งข่าวจากวงการปลาสวยงามระบุ Blackchin Tilapia เป็นหนึ่งใน 17 กลุ่มปลาแปลก หรือ Exotic Freshwater Fish ที่นิยมเลี้ยงกันในต่างประเทศ รวมถึงติดอันดับกลุ่มปลาที่สามารถใช้เป็นอาหารได้ที่ถูกนำมาเลี้ยงเป็นงานอดิเรก จึงไม่น่าแปลกใจที่พบว่ามี บริษัทไทยสนองตอบต่อความต้องการในตลาดนี้ และสามารถสร้างรายได้จากการส่งออกปลาชนิดนี้จริง…

ปลาหมอสีคางดำ “ปลาสวยงาม” หรือ “ปลารุกราน” บูรณาการกำจัดได้

ปลาหมอสีคางดำ หรือ ปลาหมอคางดำ (Blackchin tilapia) ที่มีชื่อทางวิทยาศาตร์ ว่า Sarotherodon melanotheron การกำหนดชื่อวิทยาศาสตร์ขึ้นใช้ ก็เพื่อมิให้เกิดความซ้ำซ้อนหรือความสับสนกับชื่อพื้นเมืองและชื่อสามัญ เป็นหนึ่งในปลาต่างถิ่นรุกราน เรียกขานกันว่าเอเลี่ยน สปีชี่ส์ ที่ไทยห้ามนำเข้าตั้งแต่ปี…

“ความจริงปรากฏ” ไทยส่งออกปลาหมอคางดำ ปี 2556-2559

ที่สุดความจริงก็ปรากฏ เมื่อ นายบัญชา สุขแก้ว อธิบดีกรมประมง ให้ข้อมูลกับ คณะอนุกรรมาธิการ (กมธ.) พิจารณาศึกษาสาเหตุและแนวทางการแก้ไขปัญหา รวมถึงผลกระทบจากการนำเข้าปลาหมอคางดำ เมื่อวันที่  18 กรกฏาคม 2567 ว่า…

สมาคมหมูฯ ยื่นข้อเรียกร้องห้างค้าปลีกค้าส่ง จัดระเบียบตั้งราคาขายไม่กระทบเกษตรกร 

นายสิทธิพันธ์ ธนาเกียรติภิญโญ นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า สมาคมฯ เตรียมเดินสายพบห้างค้าปลีกค้าส่ง 5 แห่ง ขอจัดระเบียบกำหนดแนวทางตั้งราคาขายเนื้อหมูตามโครงสร้างต้นทุนฟาร์ม เพื่อไม่ให้กระทบราคาหน้าฟาร์ม โดยขอให้ใช้เป็นบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกันของผู้เลี้ยงสุกรและผู้จำหน่ายเนื้อสุกรซึ่งเป็นต้นน้ำและปลายน้ำของห่วงโซ่อุตสาหกรรมสุกร   “การเลี้ยงสุกรและการจำหน่ายเนื้อสุกร มีความเชื่อมโยงกันตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตั้งราคาจำหน่ายของห้างค้าปลีกในปัจจุบันนั้น…

Pig Board เคาะมาตรการปรับลดแม่พันธุ์หมู รักษาเสถียรภาพราคาสุกรหน้าฟาร์ม

“ธรรมนัส” เผย Pig Board เห็นชอบมาตรการเสริมในโครงการรักษาเสถียรภาพราคาสุกร ด้วยการปรับลดปริมาณแม่พันธุ์สุกร 78,571 ตัว ในฟาร์มใหญ่ 230 แห่ง ภายใน 3 เดือน ช่วยลดปัญหาราคาสุกรหน้าฟาร์มตกต่ำอย่างยั่งยืน…

“ปลาหมอสีคางดำ” ลักลอบนำเข้า จับมือใครดมไม่ได้

ปลาหมอสีคางดำ (Blackchin Tilapia) ปลาเอเลี่ยนสปีชีส์ (Alien Species) ชนิดพันธุ์ปลาต่างถิ่นรุกราน (Invasive alien species) ปรับตัวได้ดีทั้ง 3 น้ำ คือ น้ำจืด…

Related News